วันอาทิตย์ที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
วันจันทร์ที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
3.5 ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หนึ่งเครือข่ายจะมีการทำงานรวมกันเป็นกลุ่ม ที่เรียกว่า กลุ่มงาน (workgroup)
แต่เมื่อเชื่อมโยงหลายๆ กลุ่มงานเข้าด้วยกัน ก็จะเป็นเครือข่ายขององค์กร และถ้าเชื่อมโยงระหว่างองค์กรผ่านเครือข่ายแวน ก็จะได้เครือข่ายขนาดใหญ่ขึ้น
การประยุกต์ใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างกว้างขวาง และสามารถใช้ประโยชน์ได้มากมาย ทั้งนี้เพราะระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทำให้เกิดการเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่างๆ เข้าด้วยกัน และสื่อสารข้อมูลระหว่างกันได้
ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีดังนี้...อ่านเพิ่ม
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หนึ่งเครือข่ายจะมีการทำงานรวมกันเป็นกลุ่ม ที่เรียกว่า กลุ่มงาน (workgroup)
แต่เมื่อเชื่อมโยงหลายๆ กลุ่มงานเข้าด้วยกัน ก็จะเป็นเครือข่ายขององค์กร และถ้าเชื่อมโยงระหว่างองค์กรผ่านเครือข่ายแวน ก็จะได้เครือข่ายขนาดใหญ่ขึ้น
การประยุกต์ใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างกว้างขวาง และสามารถใช้ประโยชน์ได้มากมาย ทั้งนี้เพราะระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทำให้เกิดการเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่างๆ เข้าด้วยกัน และสื่อสารข้อมูลระหว่างกันได้
ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีดังนี้...อ่านเพิ่ม
การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
3.4 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (computer network)
เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงเข้าด้วยกันเพื่อให้สามารถใช้ข้อมูลทรัพยากรร่วมกันได้
เช่น สามารถใช้เครื่องพิมพ์ร่วมกัน สามารถใช้ฮาร์ดดิสก์ร่วมกัน
แบ่งปันการใช้อุปกรณ์อื่นๆ ที่มีราคาแพงหรือไม่สามารถจัดหาให้ทุกคนได้
แม้กระทั่งสามารถใช้โปรแกรมร่วมกันได้เป็นการลดต้นทุนขององค์กรเครือข่ายคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นประเภทตามพื้นที่ที่ครอบคลุมการใช้งานของเครือข่าย
ดังนี้...อ่านเพิ่ม
การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
3.3 อุปกรณ์ที่สำคัญในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1.) โมเด็ม (Modem)
โมเด็มเป็นฮาร์ดแวร์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณแอนะล็อกให้เป็นสัญญาณดิจิตัล เมื่อข้อมูลถูกส่งมายังผู้รับละแปลงสัญญาณดิจิตัลให้เป็นแอนะล็อก เมื่อต้องการส่งข้อมูลไปบนช่องสื่อสาร กระบวนการที่โมเด็มแปลงสัญญาณดิจิตัลให้เป็นสัญญาณแอนะล็อก เรียกว่า มอดูเลชัน (Modulation) โมเด็มทำหน้าที่ มอดูเลเตอร์ (Modulator) กระบวนการที่โมเด็มแปลงสัญญาณแอนะล็อก ให้เป็นสัญญาณแอนะล็อก ให้เป็น...อ่านเพิ่ม
โมเด็มเป็นฮาร์ดแวร์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณแอนะล็อกให้เป็นสัญญาณดิจิตัล เมื่อข้อมูลถูกส่งมายังผู้รับละแปลงสัญญาณดิจิตัลให้เป็นแอนะล็อก เมื่อต้องการส่งข้อมูลไปบนช่องสื่อสาร กระบวนการที่โมเด็มแปลงสัญญาณดิจิตัลให้เป็นสัญญาณแอนะล็อก เรียกว่า มอดูเลชัน (Modulation) โมเด็มทำหน้าที่ มอดูเลเตอร์ (Modulator) กระบวนการที่โมเด็มแปลงสัญญาณแอนะล็อก ให้เป็นสัญญาณแอนะล็อก ให้เป็น...อ่านเพิ่ม
การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
3.2 การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลในยุคปัจจุบัน ได้ตะหนักถึง
ความสำคัญในการนำเทคโนโลยีคมนาคมและการสื่อสารมาช่วยงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการดำเนินงาน
ซึ้งการประยุกต์เทคโนโลยีการสื่อสารในองค์การมีดังนี้
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail : E-mail)
การใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ และพีดีเอ ส่งข้อความอิเล็กทรอนิกส์ไปยังบุคคลอื่น โดยการสื่อสารนี้บุคคลที่ทำการสื่อสารจะต้องมีชื่อและที่อยู่ในรูปแบบอีเมล์แอดเดรส
โทรสาร (Facsimile หรือ Fax)
เป็นการส่งข้อมูล ซึ่งอาจเป็นข้อความที่เขียนขึ้นด้วยมือหรือ...อ่านเพิ่ม
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail : E-mail)
การใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ และพีดีเอ ส่งข้อความอิเล็กทรอนิกส์ไปยังบุคคลอื่น โดยการสื่อสารนี้บุคคลที่ทำการสื่อสารจะต้องมีชื่อและที่อยู่ในรูปแบบอีเมล์แอดเดรส
โทรสาร (Facsimile หรือ Fax)
เป็นการส่งข้อมูล ซึ่งอาจเป็นข้อความที่เขียนขึ้นด้วยมือหรือ...อ่านเพิ่ม
การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
3.1 ความรู้เบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลเป็นการถ่ายทอดความรู้ ความคิด
ความรู้สึกจากคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่งโดยอาศัยสื่อหรือเครื่องมือต่างๆเป็นช่องทางในการสื่อสาร
เช่น การสื่อสารด้วยท่าทาง ถ้อยคำ สัญลักษณ์ ภาพวาด จดหมาย โทรเลข เป็นต้น
ต่อมาการสื่อวารข้อมูลได้พัฒนาและก้าวหน้าไปอย่างต่อเนื่อง มีการนำ...อ่านเพิ่ม
การจัดหาซอฟต์แวร์เพื่อมาใช้งาน
2.4 การจัดหาซอฟต์แวร์เพื่อมาใช้งาน
การจัดหาซอฟต์แวร์เพื่อมาใช้งาน สามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้
การจัดหาซอฟต์แวร์เพื่อมาใช้งาน สามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้
1) แบบสำเร็จรูป (Packaged or Ready-Made
Software)
เป็นวิธีที่ผู้ใช้งานซื้อได้จากตัวแทนจำหน่ายซอฟต์แวร์ ที่ได้รับการแต่งตั้งจากบริษัทผู้ผลิตได้โดยตรง ซึ่งมักจะมีการเตรียมบรรจุภัณฑ์และเอกสารคู่มือการใช้งานไว้อยู่แล้ว ผู้ใช้สามารถนำไปติดตั้งเพื่อใช้งานได้โดยทันที กรณีที่ไม่สามารถเลือกซื้อผ่านร้านตัวแทนจำหน่ายได้ อาจเข้าไปในเว็บไซต์ของบริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์นั้นๆ แล้วกรอก...อ่านเพิ่ม
เป็นวิธีที่ผู้ใช้งานซื้อได้จากตัวแทนจำหน่ายซอฟต์แวร์ ที่ได้รับการแต่งตั้งจากบริษัทผู้ผลิตได้โดยตรง ซึ่งมักจะมีการเตรียมบรรจุภัณฑ์และเอกสารคู่มือการใช้งานไว้อยู่แล้ว ผู้ใช้สามารถนำไปติดตั้งเพื่อใช้งานได้โดยทันที กรณีที่ไม่สามารถเลือกซื้อผ่านร้านตัวแทนจำหน่ายได้ อาจเข้าไปในเว็บไซต์ของบริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์นั้นๆ แล้วกรอก...อ่านเพิ่ม
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์และการเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงาน
2.3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application
Software) คือซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้น
เพื่อประยุกต์กับงานที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำ ซอฟต์แวร์จัดเก็บภาษี
ซอฟต์แวร์สินค้าคงคลัง ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน ซอฟต์แวร์กราฟิก
ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล เป็นต้น การทำงานใดๆ โดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์
จำเป็นต้องทำงานภายใต้สภาพแวดล้อมของซอฟต์แวร์ระบบด้วย
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้รับความนิยมใช้งานอย่างแพร่หลายในทุกวงการ
ความนิยมส่วนหนึ่งมาจาก ขีดความสามารถของซอฟต์แวร์ประยุกต์นั้นๆ
เพราะซอฟต์แวร์ที่ผลิตออกจำหน่าย ต่างพยายามแข่งขันกันหลายๆ ด้าน …อ่านเพิ่ม
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์และการเลือกใช้ให้เหมาะกับงาน
2.2 ซอฟต์แวร์ระบบ
ซอฟต์แวร์ระบบประกอบด้วย
ซอฟต์แวร์ 2 ประเภท คือ
1) ระบบปฏิบัติการ (Operating System)
ระบบปฏิบัติการ หมายถึง ชุดของโปรแกรมที่อยู่ระหว่างฮาร์ดแวร์แลซอฟต์แวร์ประยุกต์ มีหน้าที่ในการควบคุมการปฏิบัติงานของฮาร์ดแวร์ และสนับสนุนคำสั่งสำหรับควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ประยุกต์ ตัวอย่างของซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้ในปัจจุบัน เช่น MS - DOS , UNIX , Windows 95 , และ Mac System 7 เป็นต้น ระบบปฏิบัติงานมีหน้าที่หลัก ๆ คือ...อ่านเพิ่ม
1) ระบบปฏิบัติการ (Operating System)
ระบบปฏิบัติการ หมายถึง ชุดของโปรแกรมที่อยู่ระหว่างฮาร์ดแวร์แลซอฟต์แวร์ประยุกต์ มีหน้าที่ในการควบคุมการปฏิบัติงานของฮาร์ดแวร์ และสนับสนุนคำสั่งสำหรับควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ประยุกต์ ตัวอย่างของซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้ในปัจจุบัน เช่น MS - DOS , UNIX , Windows 95 , และ Mac System 7 เป็นต้น ระบบปฏิบัติงานมีหน้าที่หลัก ๆ คือ...อ่านเพิ่ม
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์และการเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงาน
2.1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
ความหมายของซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยให้การทำงานของคนทำงานได้ด้วยความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ซึ่งถ้าหากเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นมีเพียงเฉพาะตัวอุปกรณ์หรือฮาร์ดแวร์อยู่เพียงอย่างเดียวก็ไม่สามารถทำงานได้เป็นได้เพียงวัตถุชิ้นหนึ่งเท่านั้น
การที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้นั้น
จำเป็นต้องอาศัยซอฟต์แวร์ในการสั่งให้อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ทำงานได้ตามความต้องการของผู้ใช้งาน
สำหรับในที่นี่จะกล่าวถึงการ...อ่านเพิ่ม
หลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์
1.4 ชนิดของการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนี้ แบ่งออกได้เป็น ๓ กลุ่ม คือ
๑.กลุ่มที่เลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์แบบมียี่ห้อ
หรือเรียกว่าเครื่องแบรนด์เนม(brand name) ทั้งแบรนด์เนมของไทย และของต่างประเทศ เช่น Laser ,
Powell , IBM , Acer , Atec เป็นต้น
๒.กลุ่มที่เลือกซื้อเครื่องสั่งประกอบตามร้านคอมพิวเตอร์ที่ตั้งอยู่ในศูนย์การค้า
เช่น ที่พันธ์ทิพย์พลาซ่า เสรีเซ็นเตอร์ หรือจากร้านจำหน่ายคอมพิวเตอร์ทั่วไป
เป็นต้น
๓.กลุ่มที่เลือกซื้ออุปกรณ์มาเป็นชิ้นๆ
แล้วนำมาประกอบเองที่บ้าน…อ่านเพิ่ม
หลักการทำงานและการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
1.3 หลักการเลือกคอมพิวเตอร์
1) สำรวจระดับการใช้งาน การแบ่งระดับการใช้งานคอมพิวเตอร์นั้นอาจแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท
แต่โดยส่วนใหญ่แล้วมักแบ่งเป็น 3 ระดับด้วยกัน ตามรูปแบบการใช้งานทั่วไปของผู้ใช้
คือ ระดับผู้ใช้ทั่วไป (Basic User) ระดับผู้ใช้งานด้านกราฟิกส์ (Graphic
User) และผู้ใช้งานในระดับสูง (Advanced User)
2) วิธีกำหนดสเป็คเครื่อง หลังจากรู้ลักษณะการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ของเราแล้วว่าจะอยู่ในระดับใด
ต่อไปเป็นการกำหนดสเป็คเครื่องที่รองรับการทำงานประจำที่จะเกิดขึ้นกับเครื่องพีซีนั้น
ซึ่งแต่ละระดับจะมีรายละเอียดสเป็คของอุปกรณ์แต่ละชิ้นที่เหมาะสมแตกต่างกันไป...อ่านเพิ่ม
หลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์
1.2 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบพื้นฐาน 5 ประการมาทำงานประสานงานร่วมกัน
ซึ่งองค์ประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์ประกอบไปด้วย
1. หน่วยรับเข้า ทำหน้าที่รับข้อมูล หรือคำสั่งต่างๆ
จากผู้ใช้ผ่านอุปกรณ์รับข้อมูล
ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะถูกส่งเข้าไปทำการประมวลผลต่อไป
2. หน่วยประมวลผลกลาง
2.1 หน่วยควบคุม
2.2 หน่วยคำนวณและตรรกะ
หน่วยประมวลผลกลาง
หรือ ซีพียู เปรียบได้กับสมองของคอมพิวเตอร์
ทำหน้าที่ประมวลผลคำสั่งหรือข้อมูลที่รับเข้าไป ซึ่งจะทำงานร่วมกับ...อ่านเพิ่มเติม |
หลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์
1.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พื้นฐานมี 4 ขั้นตอนดังนี้
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พื้นฐานมี 4 ขั้นตอนดังนี้
1) รับข้อมูล (Input) คอมพิวเตอร์จะทำหน้าที่รับข้อมูลไปประมวลผล อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับข้อมูล ได้แก่ แป้นพิมพ์ เมาส์ เครื่องสแกน เป็นต้น
2) ประมวลผลข้อมูล (Process) เมื่อคอมพิวเตอร์รับข้อมูลเข้าสู่ระบบแล้วจะทำการประมวลผลตามคำสั่ง
หรือโปรแกรมที่กำหนด อุปกรณ์ทีทำหน้าที่ประมวลไผลได้แก่ CPU
3) แสดงผลข้อมูล (Output) เมื่อทำการประมวลผลแล้ว
คอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการแสดงผลข้อมูลคือ
จอภาพและเครื่องพิมพ์ เป็นต้น
วันอาทิตย์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2557
รอดปาฏิหาริย์! iPhone 4 ตกตึก 3 ชั้น ผลปรากฏว่า… !?
ถ้าพูดถึงสมาร์ทโฟนที่ทนทาน เชื่อว่าหลายๆ คนคงจะไม่นึกถึง iPhone เป็นแน่แท้ โดยเฉพาะ iPhone 4 ที่มีด้านหน้า และด้านหลังเป็นกระจก แต่มีเจ้าของ iPhone 4 ท่านหนึ่ง ทำมือถือตกลงจากห้าง 3 ชั้น ผลปรากฏว่าเครื่อง...อ่านต่อ
ระวัง! โหลด WhatsApp for PC อาจได้โทรจันร้ายขโมยข้อมูลการเงิน
นายดิมิทรี เบสทูเซฟ ผู้เชี่ยวชาญของแคสเปอร์สกี้ แลป เปิดเผยการค้นพบมัลแวร์สัญชาติบราซิลตัวล่าสุดที่แพร่กระจายผ่านอีเมลสแปม มีเนื้อหาระบุว่า ผู้ใช้คอมพิวเตอร์สามารถดาวน์โหลดแอพพลิเคชั่นแชทยอดฮิตอย่าง “วอทส์แอพ” เพื่อใช้งานบนพีซีได้แล้ว (Whatsapp for PC) พร้อมแจ้งว่ามีเพื่อนและคนรู้จักดาวน์โหลดมาใช้และรอแชทในแอคเค้าท์นี้แล้วด้วย หากผู้ใช้คอมพิวเตอร์หลงกลและกดเว็บลิ้งค์เพื่อดาวน์โหลดแอพพลิเคชั่น ก็จะ...อ่านต่อ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)